ยังไม่ดีขึ้น สมาคมฯ แจงสาเหตุที่ต้องตัดสินใจเลื่อนเตะ ตลอดช่วงเดือน มกราคม 2564 หลังโควิด-19 กลับมาระบาดอีกครั้ง
ยังไม่ดีขึ้น จนทำให้ติดเงื่อนไขหลายอย่าง พาทิศ ศุภะพงษ์ เลขาธิการสมาคมกีฬาฟุตบอล แห่งประเทศไทยฯ แจงสาเหตุที่ต้องเลื่อนการแข่งขันฟุตบอลไทยลีก 1 และ ไทยลีก 2 ตลอดช่วงเดือนมกราคม 2564 หลังสถานการณ์โควิด-19 กลับมาระบาดอีกครั้ง
จากสถานการณ์ที่เกิดขึ้น ทำให้ ศบค. ประกาศยกระดับพื้นที่ควบคุม ในหลายจังหวัด ส่งผลให้กระทบ กับการแข่งขันไทยลีกด้วย ก่อนที่ สมาคมฯ จะประชุมกับสโมสรสมาชิก เมื่อวันที่ 4 มกราคม 2564 และ ได้ข้อสรุปว่า เบื้องต้นให้เลื่อน การแข่งขันทุกระดับ เพนท์บอล
ออกไปก่อน ตลอดช่วงเดือน มกราคมนี้ และ เตรียมโยกเตะช่วง ฟีฟ่า เดย์ ของเดือนมีนาคม แทน รวมถึง เพิ่มโปรแกรม กลางสัปดาห์เข้าไป ขณะที่ พ่อบ้านสมาคมฯ กล่าวถึงเรื่องนี้ว่า “จริง ๆ แล้วสมาคมฯ และไทยลีก ไม่อยากให้การโปรแกรม การแข่งขันถูกกระทบอีก แต่ด้วยสถานการณ์ ที่เกิดขึ้นของไวรัส COVID-19
ยังไม่ดีขึ้น โดยขณะนี้ มาตรการการป้องกัน ประเทศไทย ที่ออกมาเพื่อควบคุม
การระบาดของ ประเทศภายใต้ ศบค. และจังหวัดต่าง ๆ ที่ให้ผู้ว่าราชการจังหวัด มีอำนาจในกำหนด แนวทางปฏิบัติ ก็เป็นความแตกต่าง ที่ทำให้ผู้จัดกิจกรรมกีฬา เช่น ไทยลีก ไม่สามารถไปเปรียบเทียบ มาตรการแข่งขัน แบบปิดเหมือนลีก ต่างชาติในยุโรป
เช่น พรีเมียร์ลีก อังกฤษได้ เพราะต้องคำนึง ถึงผลกระทบอื่น ๆ ของประเทศไทย “ยกตัวอย่างพื้นที่ ในกรุงเทพมหานครฯ และหลายจังหวัด ได้มีมาตรการ ปิดสนามแข่งขัน งดการจัดการแข่งขัน งดการฝึกซ้อม รวมถึงบางจังหวัด กำหนดให้ผู้ที่เดินทาง ดูบอลสด
จากพื้นที่ควบคุม ต้องกักตัว 14 วัน ส่งผลให้สโมสร ไม่สามารถดำเนินการ ตามปกติได้ รวมถึงประสบ ปัญหาการเดินทาง เมื่อไปเล่นเป็นทีมเยือน ทำให้เกิดอุปสรรค ในการแข่งขัน ทั้งในรายการแข่งขัน ฟุตบอลลีกอาชีพ และฟุตบอลถ้วย ช้าง เอฟเอ คัพ”
โดยจากที่ประชุมสโมสร T1 และ T2 มีแนวทางร่วมกัน เบื้องต้นจะเลื่อน การแข่งขันไปก่อน 1 เดือน
ไทยลีกก็จะแจ้ง ให้สโมสรขยับ มาเริ่มเตะเร็วขึ้นได้ “แต่ถ้าสถานการณ์ ยังไม่ดีขึ้น หรือแย่กว่านี้ เราก็จะเริ่ม ดำเนินการวางแผน ขั้นตอนต่อไป เช่นการเสนอรูปแบบ แข่งสนามกลาง จนจบฤดูกาล แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ต้องมีการปรึกษา กับทางศบค. ถึงความเป็นไปได้
ในเรื่องดังกล่าว และต้องมีการพิจารณา ในส่วนของค่าใช้จ่าย , ที่พัก และสนามซ้อม ให้เพียงพอ ต่อจำนวนทีม แข่งขันอย่างไร ก็ตามจะแจ้ง ให้สโมรทราบต่อไป” พ่อบ้านสมาคมฯ ปิดท้าย ปัจจุบัน ศบค. ประกาศพื้นที่ ควบคุมสูงสุด (สีแดง) ถึง 28 จังหวัด ดาวซัลโว
ซึ่งมีผลควบคุมพื้นที่ โดยตรงของ 12 สโมสร ในโตโยต้า ไทยลีก , ส่วนอีก 4 สโมสร ประกอบด้วย สุโขทัย เอฟซี , บุรีรัมย์ ยูไนเต็ด และ นครราชสีมา เอฟซี อยู่ในพื้นที่ควบคุม (สีส้ม) และ สิงห์ เชียงรายฯ อยู่ในพื้นที่เฝ้าระวัง (สีเหลือง) ทั้งนี้ โตโยต้า ไทยลีก ฤดูกาล 2020-21 จะกลับมาแข่งขันกันอีกครั้ง ระหว่างวันที่ 6-7 กุมภาพันธ์ 2564